Social Movement คืออะไร? รู้จัก”การเคลื่อนไหวทางสังคม”มากขึ้น

“Social Movement” อาจเป็นคำที่หลายคนเพิ่งอาจจะเคยได้ยินในตอนที่พิธีกรทำการถามคำถาม มารีญา ในรอบ 5 คนสุดท้ายในการประกวด Miss Universe 2017 วันนี้ Zcooby หาคำอธิบายเกี่ยวกับคำๆ นี้ให้คุณเข้าใจมากขึ้นครับ

Social Movement คืออะไร?

Social Movement หรือ “การเคลื่อนไหวทางสังคม” คือ ขบวนการเรียกรองของกลุมคนจํานวนหนึ่งที่ตองเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทิศทางที่ตนปรารถนา โดยกลุมคนจํานวนหนึ่งเหลานี้อาจมีนับพันหรือนับหมื่น ไดเขารวมเรียกรองโดยมีการจัดระเบียบทางสังคมอยางหลวมๆซึ่งแตละกลุมอาจมีระดับของการมีสวนรวมแตกตางกัน

ลักษณะของ Social Movement

ลักษณะรวมบางประการของการเคลื่อนไหวทางสังคมคือ ผูเขารวมเคลื่อนไหวมีจุดมุงหมายที่แนชัด (goaloriented) และมีความตั้งใจที่จะทําการเปลี่ยนแปลง (intentional change) โดยมีอุดมการณรวมกันวา การเคลื่อนไหว จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงสังคมในทิศทางที่ตนปรารถนา

เชนตัวอยางการเคลื่อนไหวเพื่อ เรียกรองของกลุมสมัชชาคนจน  ซึ่งการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรอง ของกลุมสมัชชาคนจน เปนการเขารวมของกลุมตาง ๆ ที่มีความเชื่อรวมกันวา ความเดือดร้อนที่ชาวบานไดรับนี้เปนผลจากนโยบายรัฐบาลที่ไมสามารถจัดสรรทรัพยากรไดอยางเปนธรรม

โดยกลุมผูเคลื่อนไหวเรียกรองจะแตงตั้งตัวแทนหรือแกนนําในการเคลื่อนไหวเพื่อการเจรจาตอรอง และถือเปนลักษณะของการเคลื่อนไหวทางสังคม

กระบวนการของ Social Movement

การเคลื่อนไหวทางสังคมมีกระบวนการเกิดขึ้นทีละขั้นตอน จนนําไปสูการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรอง กลาวคือ

สภาพการณทางสังคมในขณะนั้น ทําใหกลุมผูเคลื่อนไหวเรียกรองรูสึกคับแคน (strains) เนื่องจากไมไดรับความเปนธรรมจากการเลือกปฏิบัติเชนเกิดการเอารัดเอาเปรียบ

เมื่อความรูสึกเช่นนี้เกิดขึ้นกับผูคนจํานวนมาก ก็นําไปสูความเชื่อ (beliefs ) รวมกันวาเปนปญหาและควรจัดการแกไข

หากการพูดคุยประเด็นดังกลาวขยายไปสูวงกวาง และเพิ่มจํานวนคนที่สนับสนุนมากขึ้น (support )

จะนําไปสูการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดองคกร (mobilization) โดยระดมทั้งคน เงิน และอื่น ๆ รวมทั้งผูเผยแพรประชาสัมพันธ

จนทําใหผูสนับสนุนเกิดจินตนาการวาปญหาที่เกิดขึ้นในขณะนี้เลวราย และตองการการเปลี่ยนแปลง

ในขั้นนี้จะมีการจัดระเบียบองคกร (organization) โดยมีองคกรตาง ๆ เขารวมและแตละองคกรอาจมีกลยุทธหรือเปาหมายเฉพาะ แตมีการประสานงานและอุดมการณรวมกัน

เมื่อพัฒนาไปสูการจัดการองคกรรวมกันแลว จะมีการพัฒนากลยุทธตาง ๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย และปฏิบัติการ (action) เพื่อนําไปสูการ
เปลี่ยนแปลง

เมื่อการปฏิบัติการเกิดขึ้น กลุมผูสูญเสียประโยชนก็พยายามจะสลายการเคลื่อนไหวดวยวิธีการตาง ๆ (reaction)

หมายเหตุ หากคุณต้องการทราบถึงเรื่องนี้เพิ่มเติม สามารถอ่านได้ที่
http://www.arts.su.ac.th/document/suwida/001.pdf

Be the first to comment

Leave a comment

Your email address will not be published.


*


This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.